นักวิจัยค้นพบว่าเลเซอร์ไดโอดนั้นทำให้สามารถควบคุมความร้อนที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการพิมพ์โลหะ 3 มิติได้
ทีมนักวิจัยจาก Lawrence Livermore National Laboratory (LLNL) และ the University of California นั้นกล่าวถึงปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพิมพ์ชิ้นส่วนโลหะ 3 มิติที่มีความเครียดเกิดขึ้นจากการขยายตัวของวัสดุที่มีความร้อนสูงและการหดตัวของวัสดุที่เย็นแล้วที่ใช้ร่วมกันเพื่อพิมพ์ชิ้นส่วน การทำงานร่วมกันของสองสิ่งนี้ทำให้เกิดแรงที่สามารถสร้างรอยแตก-ร้าวที่ทำให้ชิ้นส่วนถูกลดความแข็งแรงลงหรือสามารถแตกหักได้
การแก้ไขโดยใช้เลเซอร์แรงสูง โดยในระหว่างทำการพิมพ์ไดโอดจะให้ความร้อนกับชิ้นส่วนที่ถูกพิมพ์ไปแล้วซ้ำ ๆ อย่างรวดเร็ว ซึ่งกระบวนการนี้นั้นสามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้นในการผลิตชิ้นส่วนทดสอบได้ถึง 90% ซึ่งทำโดยการให้นักวิจัยลดระดับอุณหภูมิแบบไล่ระดับและควบคุมอัตราความเย็น
ที่มา:
Lnl.gov
ปัจจุบันเทคโนโลยีการพิมพ์วัตถุ 3 มิติ หรือเรียกกันอย่างจริงจังว่า Additive Manufacturing (การผลิตโดยการเติมเนื้อวัสดุ) นั้นมีการเติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง สามารถใช้ได้กับกิจการหลากหลายตั้งแต่อุตสาหกรรมการผลิตไปจนถึงการศึกษาหรือการใช้งานในบ้าน ด้วยช่วงราคาที่กว้างตั้งแต่หลักพันกลาง ๆ ไปจนถึงหลักแสนหลักล้าน ใช้ได้ทั้งงานวัสดุพลาสติกไปจนถึงโลหะ ซึ่งวันนี้เราได้มีโอกาสพูดคุยกับ Benjamin Tan รองประธานฝ่ายขายภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกของ Ultimaker ผู้ผลิตเครื่องพิมพ์ 3 มิติชื่อดังที่มีการใช้งานกันอย่างแพร่หลายทั่วโลก
คุณ Benjamin Tan ได้ออกตัวไว้ก่อนเลยว่า Ultimaker นั้นให้ความสำคัญกับ FFF (Fused Filament Fabrication) หรือถ้าเอาให้ง่ายเข้าว่าก็ คือ การผลิตชิ้นส่วนที่ต้องใช้ความร้อนที่หัวฉีดละลายหรือวัสดุจำพวกพลาสติกนั่นเอง โดยผู้ผลิตและผู้พัฒนาจำนวนมากมีการใช้งานเครื่องพิมพ์ 3 มิติในงานของ
Notice: Undefined index: popup_cookie_abzql in /home/mmthaixaulinbx/webapps/mmthailand/wp-content/plugins/cardoza-facebook-like-box/cardoza_facebook_like_box.php on line 924