Saturday, January 18Modern Manufacturing
×

Tag: หุ่นยนต์ขนาดเล็ก

7 ข้อดีของหุ่นยนต์ขนาดเล็กที่ไม่จิ๋วตามขนาด

7 ข้อดีของหุ่นยนต์ขนาดเล็กที่ไม่จิ๋วตามขนาด

Automation
การเติบโตและการใช้งานในระบบอัตโนมัติยุคปัจจุบันเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว หลายธุรกิจก็สามารถปรับตัวตามการแข่งขันได้ แต่มีธุรกิจอีกไม่น้อยที่ไม่อาจเข้าถึงเทคโนโลยีเหล่านี้ได้เนื่องจากราคาที่สูงลิบลิ่ว ไม่ว่าจะเป็นหุ่นยนต์ 6 แกนทั่วไป หรือหุ่นยนต์เคลื่อนที่ หุ่นยนต์ขนาดเล็กหรือ Miniature Robot จึงกลายเป็นทางเลือกสำหรับผู้ผลิตที่อยากลองใช้หุ่นยนต์หรือทำโครงการต้นแบบเพื่อปูทางไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ใหญ่ยิ่งกว่า (more…)
หุ่นยนต์ขับเคลื่อนด้วยการสั่นสะเทือนขนาดเท่ามดจิ๋วจากการพิมพ์ 3 มิติ!

หุ่นยนต์ขับเคลื่อนด้วยการสั่นสะเทือนขนาดเท่ามดจิ๋วจากการพิมพ์ 3 มิติ!

Technology
ทีมนักวิจัยจาก Georgia Tech’s Institute for Electronics and Nanotechnology สร้างหุ่นยนต์ขนาดจิ๋วขึ้นมาจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ที่ใช้พลังงานในการเคลื่อนไหวจาก Piezoelectric Actuator แหล่งพลังงานจาก Ultrasound หรือลำโพงขนาดเล็ก หุ่นจิ๋วถูกประกอบขึ้นพร้อมกับ Piezoelectric Actuator ทากาวลงบนตัวหุ่นยนต์ที่เป็นโพลีเมอร์ที่ผลิตจากการใช้เครื่องพิมพ์ 3 มิติด้วยวิธี Two-Photon Polymerization Lithography (TPP) โดย Actuator สร้างการสั่นสะเทือนโดยรับพลังงานจากภายนอกเนื่องจากมีขนาดเล็กเกินไปจนไม่สามารถติดตั้งแบตเตอรี่ได้ การสั่นสะเทือนเกิดขึ้นจากตัวเขย้า Piezoelectric ที่อยู่ใต้พื้นผิวที่หุ่นยนต์ขยับ https://www.youtube.com/watch?v=JgEnX7kADNE หุ่นยนต์ต้นแบบนั้นจะตอบสนองต่อคลื่นความถี่การสั่นสะเทือนที่แตกต่างกัน โดยการสั่นสะเทือนจะทำให้ขาเกิดการเคลื่อนที่ขึ้นลงเหมือนสปริงทำให้ขยับไปข้างหน้า ขึ้นอยู่
MIT คิดค้นหุ่นยนต์ขนาดเซลล์สำหรับงานตรวจสอบลำไส้ไปจนถึงท่อน้ำมัน

MIT คิดค้นหุ่นยนต์ขนาดเซลล์สำหรับงานตรวจสอบลำไส้ไปจนถึงท่อน้ำมัน

Technology
นักวิจัยจาก MIT พัฒนาหุ่นยนต์ขนาดเซลล์ด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกขนาดจิ๋วที่สามารถใช้งานในลำไส้หรือท่อน้ำเพื่อตรวจสอบปัญหาซึ่งมีการใช้พลังงานที่น้อยกว่ารูปแบบทั่วไป และสามารถทำงานได้ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย หุ่นยนต์ขนาดเล็กนี้ถูกสร้างขึ้นจากแผงวงจรจากวัตถุดิบสองมิติและอนุภาค Colloid สามารถรับรู้สภาพแวดล้อม เก็บข้อมูล และทำการคำนวณได้ ซึ่ง Colloid นี้เองเป็นอนุภาคหรือโมเลกุลที่ไม่ละลายน้ำสามารถอยู่ได้ในของเหลวและอากาศ และการผสมผสาน Colloid เข้ากับวัตถุขนาดจิ๋วเพื่อสร้างความซับซ้อนให้กับวงจรกลายเป็นความหวังของนักวิจัยในการใช้งานเจ้าหุ่นขนาดเล็กเพื่อวิเคราะห์ปัญหาตั้งแต่ระบบย่อยของมนุษย์ไปจนถึงท่อน้ำมันและก๊าซ (more…)

Notice: Undefined index: popup_cookie_abzql in /home/mmthaixaulinbx/webapps/mmthailand/wp-content/plugins/cardoza-facebook-like-box/cardoza_facebook_like_box.php on line 924